Go to Top
outgoing_mail
แบบฟอร์มรับเรื่องร้องเรียน
081-000-7362
perm_phone_msg
ติดต่อโรงไฟฟ้าบีแอลซีพี
038 925100
แบบสำรวจความพึงพอใจ
TH
EN
หน้าหลัก
เกี่ยวกับบีแอลซีพี
ประวัติบีแอลซีพี
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการและผู้บริหาร
วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมองค์กร
การดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน
คณะทำงานด้านความยั่งยืน
สิ่งแวดล้อม
การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
การใช้น้ำจืด
การจัดการน้ำเสีย
การจัดการทางอากาศ
สังคม
การตอบแทนสังคม
รางวัลและเหตุการณ์สำคัญ
การดำเนินการด้านความยั่งยืน
โครงการเศรษฐกิจหมุนเวียน
โครงการเศรษฐกิจสีเขียว
โครงการเศรษฐกิจชีวภาพ
โครงการด้านสนับสนุนการศึกษา
ศูนย์การเรียนรู้อาคารพลังงานเคียงสะเก็ด
360 Virtual KSEC
ความเป็นมา
KSEC แกลอรี่
ระเบียบการ
จองเข้าเยี่ยมชม
ข้อมูลด้านเทคนิคโรงไฟฟ้าบีแอลซีพี
เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด
วัฏจักรของโรงไฟฟ้า
ระบบน้ำหล่อเย็น
นโยบาย สิ่งแวดล้อม สังคม และ ธรรมภิบาล (ESG)
ข่าวสาร/สื่อประชาสัมพันธ์
ข่าวสาร/กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม
วิดีโอกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม
ร่วมงานกับบีแอลซีพี
คลังภาพ / วีดีโอ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
รอบรั้วบีแอลซีพี
สาระน่ารู้
บทความ
รายงาน เอกสารเผยแพร่
EIA AUDIT SUBCOMMITTEE
EIA MONITORING COMMITTEE
การประชุมไตรภาคี
AQMS
CEMS
CSR DIW REPORT
นโยบายบริษัท
ติดต่อบีแอลซีพี
ติดต่อบีแอลซีพี
นโยบายความเป็นส่วนตัว
แบบสำรวจความพึงพอใจการเข้าชมเวบไซต์
แบบฟอร์มรับเรื่องร้องเรียน
ร้องเรียนเรื่องทั่วไป
ร้องเรียนเรื่องทุจริต
อื่น ๆ
การประชุมผู้ถือหุ้น
ข่าวประจำวัน
ข้อมูลด้านการเงิน
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิก
แพลงตอนที่มีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถป้องกันไม่ให้หลุดเข้าไปในกระบวนการหล่อเย็น ปริมาณน้ำที่ใช้ในแต่ละวันมีปริมาณเท่าใด เกรงว่าจะเป็นสาเหตุทางอ้อมหรือไม่ว่าเมื่อแหล่งอาหารสูญเสียไปจะส่งผลกระทบกับชาวประมงเรือเล็ก
ถามตอบ
2020/05/08
ใช้น้ำทะเลวันละประมาณ 5.38 ล้านคิวบิกเมตรต่อวัน แพลงตอนที่สูบเข้าไปมีการพิสูจน์โดยนักชีววิทยาว่าตัวแพลงตอนเป็นประเภทใด และมีการพิสูจน์อีกเช่นเดียวกันว่าแพลงตอนส่วนนี้สามารถ Generate ได้ทุกวัน แต่อย่างไรก็ตามไม่ได้หมายความว่าบริษัทฯ มีสิทธิทำลายแพลงตอน แม้ทางบริษัทฯ ป้องกันไม่ได้แต่ส่ามารถสร้างทดแทนได้ บริษัทฯ ได้ปรึกษากับชุมชนโดยเฉพาะชุมชนประมง วิธีที่บริษัททำได้ก็คือไปสร้างใหม่ขึ้นมา เช่น การปล่อยปูในกระชังเพื่อให้เป็นระบบโซ่อาหารช่วงแรกของทะเลกลับไปสู่ทะเลรายละเอียดอยู่ในรายงานมวลชนสัมพันธ์พร้อมภาพประกอบ
ส่วนประเด็นเรื่องปลาขนาดใหญ่ เนื่องจากมีการออกแบบโรงไฟฟ้าเพื่อป้องกันและลดผลกระทบในการที่จะให้ความเร็วของน้ำที่ไหลเข้า 0.3 เมตรต่อวินาที ซึ่งเป็นความเร็วที่ค่อนข้างต่ำมาก เพราะฉะนั้นปลาใหญ่หรือปลาขนาดย่อมๆ จะไม่สามารถหลุดเข้าไปได้ นอกจากนี้มีตะแกรง 2 ชั้น ตะแกรงขนาดหยาบซึ่งป้องกันปลาขนาดใหญ่ตั้งแต่ก่อนเข้าไปในโรงไฟฟ้า คือจะกันปลาใหญ่ก่อน หลังจากนั้นจะมีตะแกรงละเอียดสำหรับป้องกันปลาตัวเล็ก แต่อย่างไรก็ตามแพลงตอนมีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถป้องกันได้ บริเวณที่สูบน้ำเข้าเป็นบริเวณท่าเรือ ซึ่งด้านกฎของความปลอดภัยไม่ควรจะมีเรือหาปลาเข้าไปในบริเวณนั้น
Previous
Next
Close
Q&A เรื่องพลังงานที่นี่
เลขที่ 9, ถนน I-8 ป.ณ. 92 ปณจ.มาบตาพุด อำเภอเมือง จังหวัดระยอง 21150
webmaster@blcp.co.th
038 925100
แบบฟอร์มรับเรื่องร้องเรียน
company phone number
038925100
© Copyright โรงไฟฟ้าบีแอลซีพี. All Rights Reserved.
Website by
BIZA
. Version Website 5.2.0.
ลิงค์ในส่วนล่างเว็บไซต์ :
Privacy Policy
Cookies Policy
การขอใช้สิทธิ
Cookie Settings