Go to Top

รัฐซื้อเวลาทา SEA ตัดสินถ่านหินกระบี่-เทพา

ข่าว และกิจกรรม

2018/03/06
รัฐพลิกเกมชงท ํา SEA ผลกระทบเชิงยุทธศําสตร์ ผ่ําทํางตันโรงไฟฟ้ําถ่ําน
หินกระบี่-เทพํา กระทรวงพลังงํานตั้งทีมบุคคลที่ 3 เสนอแผนรับมือ 5 ปีกัน
ไฟดับ ส่งไฟตรงจํากขนอม-จะนะเข้ําพื้นที่ท่องเที่ยว ดันโรงไฟฟ้ําชีวมวล 3
จังหวัดชํายแดนใต้ ธุรกิจ-โรงแรมประหยัดพลังงํานตั้งรับ
กํารลงนํามในบันทึกข้อตกลงระหว่ําง นํายศิริ จิระพงษ์พันธ์ รัฐมนตรีว่ํากําร
กระทรวงพลังงําน กับเครือข่ํายปกป้องสองฝั่งทะเลกระบี่-เทพํา ยุติ


โรงไฟฟ้ําถ่ํานหิน เมื่อวันที่ 20 กุมภําพันธ์ที่ผ่ํานมํา เป็นเพียงกําร “ถอน”
รํายงํานผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภําพ (EHIA) ของโครงกํารโรงไฟฟ้ํา
ถ่ํานหินกระบี่-เทพําออกจํากส ํานักงํานนโยบํายและแผนกํารจัดกําร
ทรัพยํากรธรรมชําติและสิ่งแวดล้อม(สผ.) เท่ํานั้น แต่ตัวโครงกํารโรงไฟฟ้ํา
ถ่ํานหินทั้ง 2 โรง “ยังไม่ยุติ” จนกว่ําจะมีรํายงํานอีกชุดหนึ่ง คือ รํายงํานกําร
ประเมินผลกระทบเชิงยุทธศําสตร์ (SEA) ออกมําชี้ขําดว่ํา พื้นที่จังหวัด
กระบี่ กับ อ.เทพํา จ.สงขลํา มีควํามเหมําะสมที่จะสร้ํางโรงไฟฟ้ําถ่ํานหิน
หรือไม่
แค่ยุติ EHIA แต่ไม่เลิกโครงกําร
ผู้สื่อข่ําว “ประชําชําติธุรกิจ” รํายงํานกํารลงนํามในบันทึกข้อตกลงข้ํางต้น
เป็นเพียงกํารยุติควํามขัดแย้งที่เกิดขึ้นเฉพําะหน้ําระหว่ํางรัฐบําล พล.อ.
ประยุทธ์ จันทร์โอชํา กับเครือข่ํายต่อต้ํานโรงไฟฟ้ําถ่ํานหินกระบี่-เทพํา
ก่อนหน้ําที่จะมีรัฐบําล คสช. เข้ํามําบริหํารประเทศ โดยรัฐบําลประยุทธ์มี
กํารประชุมคณะกรรมกํารไตรภําคี ที่ไม่สํามํารถหําข้อยุติได้ และน ํามําซึ่ง
กํารประท้วง-ต่อต้ํานในพื้นที่ ในขณะที่กํารไฟฟ้ําฝ่ํายผลิตแห่งประเทศไทย
(กฟผ.) เจ้ําของโครงกําร ก็ยังคงเดินหน้ําโครงกํารและจัดท ํารํายงําน
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภําพ (EHIA) พร้อมกับรณรงค์ เทคโนโลยี
โรงไฟฟ้ําถ่ํานหินสะอําด
ส ําหรับสําระส ําคัญของบันทึกข้อตกลงฉบับดังกล่ําวกลับ “ผูกโยง” กําร
เดินหน้ําหรือยุติโครงกํารโรงไฟฟ้ําถ่ํานหินกระบี่-เทพํา เข้ํากับรํายงํานกําร
ประเมินผลกระทบเชิงยุทธศําสตร์ หรือ strategic environmental
assessment (SEA) ก ําหนดให้กระทรวงพลังงําน ด ําเนินกํารให้มีกํารจัดท ํา
รํายงํานฉบับนี้ให้เสร็จสิ้นภํายในระยะเวลํา 9 เดือน นับจํากวันลงนํามบันทึก
ข้อตกลง หํากผลกํารศึกษําของรํายงํานออกมําว่ํา พื้นที่ในจังหวัดกระบี่
และ อ.เทพํา มีควํามเหมําะสมที่จะก่อสร้ํางโรงไฟฟ้ําถ่ํานหิน ก็จะน ําไปสู่
กํารกลับมําท ํารํายงําน EHIA ฉบับใหม่ โดย “คนกลําง” ที่เป็นที่ยอมรับของ
ทั้ง 2 ฝ่ํายต่อไป แต่ถ้ําผลกํารศึกษํากํารสร้ํางโรงไฟฟ้ําไม่เหมําะสม กําร
ไฟฟ้ําฝ่ํายผลิตแห่งประเทศไทยจะต้องยุติกํารด ําเนินโครงกํารโรงไฟฟ้ํา
ถ่ํานหินทั้ง 2 พื้นที่ทันที
เรื่องใหม่แบบประเมิน SEA
ส ําหรับรํายงํานกํารประเมินผลกระทบเชิงยุทธศําสตร์ (SEA) ส ํานักงําน
นโยบํายและแผนกํารจัดกํารทรัพยํากรธรรมชําติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ได้
ให้ค ําจ ํากัดควํามไว้ว่ํา เป็นกํารใช้กรอบแนวคิดและกระบวนกํารในกําร
วิเครําะห์ ประเมินศักยภําพและข้อจ ํากัดของสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่กํารพัฒนํา
นโยบําย แผน แผนงํานและโครงกํารขนําดใหญ่ในรํายสําขํา (sectoral
based) หรือในเชิงพื้นที่ (area based) ที่ให้ควํามส ําคัญกับกํารพัฒนําที่
ยั่งยืน โดยบูรณํากํารมิติด้ํานสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี


และเปรียบเทียบทํางเลือกในกํารตัดสินใจ เพื่อให้กํารตัดสินใจนั้นมีคุณภําพ
รอบคอบ โปร่งใส และมีส่วนร่วมจํากทุกภําคส่วน
โดยนํางเสําวภํา หิญชีรนันท์ ผู้อ ํานวยกํารกองพัฒนําระบบ กํารวิเครําะห์
ผลกระทบสิ่งแวดล้อม สผ. กล่ําวว่ํา ขณะนี้ สผ.ก ําลังอยู่ในระหว่ํางร่ําง
พระรําชบัญญัติส่งเสริมและรักษําสิ่งแวดล้อม ซึ่งใน พ.ร.บ.ฉบับดังกล่ําวจะ
ก ําหนดเรื่องกํารจัดท ําแบบกํารประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศําสตร์เอําไว้
ด้วย คําดว่ํา “จะแล้วเสร็จเร็ว ๆ นี้” ซึ่งหมํายควํามว่ํา รัฐบําลยังไม่มีแบบกําร
ประเมินผลกระทบเชิงยุทธศําสตร์ (SEA) อย่ํางเป็นรูปธรรม
ขณะที่ ดร.อนุชําต ปําลกะวงศ์ ณ อยุธยํา ผู้ช่วยผู้ว่ํากํารชุมชนสัมพันธ์และ
สิ่งแวดล้อมโครงกําร กฟผ. กล่ําวว่ํา ภํายในสัปดําห์หน้ํา กระทรวงพลังงําน
จะจัดตั้งคณะท ํางํานที่มีตัวแทนจําก สผ. และหน่วยงํานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสรร
หําบุคคลที่ 3 มําจัดท ําแบบประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศําสตร์ โดย
ตัวแทนในกํารจัดท ําแบบประเมิน SEA อําจจะมําจํากภําคเอกชน หรือ
สถําบันกํารศึกษํา หรือบริษัทที่ปรึกษําที่มีควํามเชี่ยวชําญโดยเฉพําะก็ได้
เมื่อกระทรวงพลังงํานสรรหําคณะท ํางํานและจัดท ําแบบประเมินได้แล้วก็จะ
เริ่มด ําเนินกํารศึกษํา โดยแบบประเมิน SEA จะเป็นกํารมองผลกระทบใน
หลํายมิติ ทั้งในเรื่องของเศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมในภําพใหญ่ ทั้งนี้
หน่วยงํานภําครัฐที่เคยด ําเนินกํารศึกษําแบบประเมิน SEA มําแล้วก็คือ
ส ํานักงํานนโยบํายและแผนกํารขนส่งและจรําจร หรือ สนข. ที่ได้ศึกษํา
ควํามเหมําสมของพื้นที่ภําคใต้ตอนล่ําง เป็นต้น
“กรณีที่แบบประเมิน SEA ระบุว่ํา พื้นที่ภําคใต้เหมําะสมที่จะพัฒนํา
โรงไฟฟ้ําถ่ํานหิน กฟผ.จะต้องจัดท ํา EIA และ EHIA ซึ่งเมื่อประเมินจําก
สถํานกํารณ์ปัจจุบันแล้ว กํารพัฒนําโรงไฟฟ้ําถ่ํานหินอําจจะต้องใช้เวลํา
อย่ํางน้อยถึง 5 ปี” ดร.อนุชําตกล่ําว
เตรียม 2 แผนแก้ไฟตกดับ
ส ําหรับควํามต้องกํารใช้ไฟฟ้ําในภําคใต้ล่ําสุด ปรํากฏมีกํารใช้ไฟฟ้ําสูงสุด
เกิดขึ้น (peak) ณ วันที่ 18 มีนําคม 2560 ที่ 2,624 เมกะวัตต์ (MW)
ในขณะที่กํารผลิตไฟฟ้ําในภําคใต้อยู่ที่ 2,788 MW โดยในส่วนนี้ต้องน ําเข้ํา
ไฟฟ้ําจํากภําคกลํางผ่ํานสํายส่งถึง 460 MW “นั้นหมํายควํามว่ํา ทุกครั้งที่
เกิดช่วง Peak ภําคใต้มีควํามเสี่ยงสูงที่จะเกิดไฟฟ้ําตกดับเป็นวงกว้ํางได้”
กํารแก้ปัญหําด้ํานควํามมั่นคงไฟฟ้ําจํากโครงกํารก่อสร้ํางโรงไฟฟ้ําถ่ํานหิน
กระบี่-เทพํา ก ําลังผลิตรวม 2,800 MW ก็ยังไม่สํามํารถบอกได้ว่ําโครงกําร
นี้จะยุติหรือเดินหน้ําต่อไป อย่ํางน้อยอีก 9 เดือน


กระทรวงพลังงําน ร่วมกับ กฟผ. ได้จัดท ํามําตรกํารเบื่องต้นที่เชื่อว่ําจะ
รักษําควํามมั่นคงของระบบไฟฟ้ําในภําคใต้อีก 5 ปีข้ํางหน้ํา เพื่อรอควําม
ชัดเจนของโครงกํารกระบี่-เทพํา ด้วยกําร เพิ่มจ ํานวนและขนําดของสํายส่ง
แรงดันสูงเชื่อมโรงไฟฟ้ําหลัก (ขนอม-จะนะ) ตรงเข้ําสู่เมืองขนําดใหญ่ที่มี
กํารใช้ไฟฟ้ํามํากบริเวณฝั่งทะเลอันดํามัน และเชื่อมต่อกับสํายส่งหลักจําก
ภําคกลํางที่ จ.สุรําษฎร์ธํานี และพัฒนําระบบสํายส่งและโรงไฟฟ้ําชีวมวลใน
3 จังหวัดชํายแดนภําคใต้ จะช่วยลดควํามต้องกํารไฟฟ้ําที่ส่งจํากโรงไฟฟ้ํา
ขนอม-จะนะได้
แหล่งข่ําวจํากสมําคมโรงแรมภําคใต้กล่ําวว่ํา ปัจจุบันจังหวัดในพื้นที่จังหวัด
ภําคใต้ส่วนใหญ่มีสถํานประกอบกํารโรงแรมจ ํานวนมํากโดยเฉพําะจังหวัด
ท่องเที่ยวอย่ําง ภูเก็ต กระบี่ พังงํา สุรําษฎร์ธํานี ตรัง มีกํารใช้ไฟฟ้ําใน
ปริมําณที่สูง ดังนั้นโรงแรมรุ่นใหม่ ๆ จึงให้ควํามส ําคัญกับกํารประหยัด
พลังงํานควบคู่ไปกับกํารลงทุนด้ํานระบบส ํารองไฟและเครื่องปั่นไฟเป็นของ
ตัวเองไว้รองรับในช่วงที่ปริมําณไฟฟ้ําไม่เพียงพอไว้แล้ว